[สาระ+ภาพ] เด็กในครอบครัวจนที่สุด 20% ของไทย โอกาสเข้าสู่อุดมศึกษาเพียง 5%
Posted: 23 Feb 2017 03:40 AM PST (อ้างอิงจากอีเมล์ข่าว เวบไซท์ประชาไท)
นักวิชาการจาก สสค. ยกผลการสำรวจของยูเนสโกระบุ เด็กไทยในครอบครัวยากจนจบมั ธยมต้นเพียง 30-40% เด็กที่อยู่ในครอบครัวที่ ยากจนที่สุด 20% มีโอกาสเข้าสู่ระดับอุดมศึ กษาเพียง 5% เด็กที่มาจากครอบครัวร่ำรวยเข้ าถึง 100%
งาน สัมมนาระดับนานาชาติเปิดตั วรายงานการติดตามผลการศึกษาทั่ วโลก ประจําปี 2559 ในหัวข้อ “การศึกษาเพื่อมนุษย์ และโลกของเรา : สร้างสรรค์อนาคตให้ยั่งยืนเพื่ อปวงชน” ซึ่งจัดโดยมหาวิทยาลั ยธรรมศาสตร์ร่วมกับ สํานักงานยูเนสโก(UNESCO) กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงศึกษาธิการ เมื่อวันที่ 10 ก.พ.ที่ผ่านมานั้น
ซึ่งสำนักข่าวอิศรารายงานตอนหนึ่ งของเวทีเสวนาว่า ไกรยส ภัทราวาท นักวิชาการจากสำนักงานส่งเสริ มสังคมแห่งการเรียนรู้และคุ ณภาพเยาวชน (สสค.) กล่าวถึงผลการสำรวจของยู เนสโกระบุว่า มีเด็กไทยกว่า 2แสนคนในวัยประถมศึกษาที่ยังอยู่ นอกระบบการศึกษา ซึ่งสะท้อนข้อมุลความเหลื่อมล้ำ ทางการศึกษาของประเทศไทย เด็กในครอบครัวที่ร่ำรวยที่จบมั ธยมต้น 100% เด็กที่อยู่ในครอบครัวที่ ยากจนมีเพียง 30-40% เท่านั้น เพราะฉะนั้นช่องว่างการจบการศึ กษาภาคบังคับของประเทศไทย มากจากปัจจัยเหล่านี้คือ 1. ปัจจัยทางเศรษฐกิจ 2.ปัจจัยความเป็นเมืองและชนบท เพราะฉะนั้นหากเราต้องการให้ ภายใน 15 ปี ข้างหน้า ที่ไทยตั้งเป้าจะสามารถก้าวพ้ นกับดักรายได้ปานกลางและสร้ างการศึกษาเพื่อปวงชนให้สำเร็ จได้ ปัจจัยทางเศรษฐกิจและช่องว่ างของเมืองและชนบทคือโจทย์สำคัญ
ไกรยส กล่าวถึงข้อมูลบัญชีรายจ่ ายการศึกษาแห่งชาติพบว่า เด็กที่อยู่ในครอบครัวที่ ยากจนที่สุด 20% ของประเทศไทย มีโอกาสเข้าสู่ระดับอุดมศึ กษาเพียง 5% หมายความว่า หากเด็กจากทุกๆ ชั้นของรายได้เข้า ป.1 พร้อมกันครอบครัวยากจนมี โอกาสไปถึงระดับอุดมศึกษาเพียง 5% เท่านั้น ในขณะที่เด็กที่มาจากครอบครัวร่ำ รวยเข้าถึงโอกาสศึกษาในระดับที่ สูงขึ้นถึง 100%
"ถ้าพูดในชัดๆ ในเรื่องบประมาณของสถาบันอุดมศึ กษาจำนวน แสนล้านในแต่ละปี แต่เด็กที่ครอบครัวยากจนกว่า 95% ไปไม่ถึงเงินก้อนนั้น ที่ผู้ใหญ่ในกระทรวงตั้งไว้ให้ พวกเขาเข้ามาแสวงหาความเจริญ ความมั่งคั่งให้ครอบครัวแล้วก้ าวออกจากกับดักรายได้ปานกลางให้ ได้" นักวิชาการจากสสค. กล่าว และว่า เรามีความเหลื่อมล้ำตรงนี้ มากในแง่การเข้าถึงการศึ กษาในระดับอุดมศึกษา แต่ที่น่าตกใจคือตัวเลข 5% กับ 100% ต่างกัน 20 เท่า ถ้าเราตกอยู่ในฟากครอบครั วยากจน 20% ล่างกับจำนวนอีก 20% บนของคนรวย เท่ากับว่า ชีวิตของเด็กไทยคนหนึ่งต่างกั นถึง 20 เท่า อันนี้คือความเหลื่อมล้ำที่ สอดคล้องการสำรวจของยูเนสโก
ไกรยส กล่าวว่า มูลค่าทางเศรษฐกิจของความเหลื่ อมล้ำจากการที่ประเทศไทยไม่ สามารถจัดการศึกษาขั้นพื้ นฐานให้ทุกคนได้นั้นมีมูลค่ าความเสียหายอยู่ที่ร้อยละ 3 ของ GDP หรือเท่ากับค่าเฉลี่ยของการเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจตลอดสิบปีที่ ผ่านมาของประเทศไทย เพราะฉะนั้นหมายความว่ าประเทศไทยโตต่ำกว่าศักยภาพที่ แท้จริงครึ่งหนึ่งมาโดยตลอด เมื่อมองไกลๆ ตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปีถึงการเป็นประเทศที่ก้ าวออกจากกับดักรายได้ปานกลางได้ ถ้าเกิดเราต้องสูญเสีย 3% ทุกปี ไปอีก15 ปีข้างหน้า เท่ากับเราต้องชะลอการออกจากกั บดักตรงนั้นไปอีกราว 30 ปี แต่ถ้าหากเราสามารถดึง 3% ที่หายไปกลับมาได้ในทุกๆ ปี นับจากนี้ไป อีก 15 ปีข้างหน้าไทยจะสามารถก้าวพ้นกั บดักรายได้ปานกลางพร้อมๆ กับมาเลเซีย
ไกรยส กล่าวด้วยว่า ในเมื่อเรามีหลักประกันสุขภาพถ้ วนหน้า เรายังต้องก้าวไปอีกถึงหลั กประกันทางการศึกษาให้ ประเทศไทยสามารถกล้าพูดได้ว่า ไม่มีเด็กคนไหนตกหล่นจากการดู เเลของระบบการศึกษาไทย
“ความเหลื่อมล้ำของการศึกษามี ผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจที่ยั่งยื น และที่สำคัญเมื่อการศึกษาทั่วถึ งทุกคน สังคมแห่งกาเรียนรู้ก็จะเพิ่มขึ้ น การพุดคุย การขัดแย้งในสังคมก็จะลดลง เพราะการศึกษามีการกว่าแค่ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ แค่คือการหล่อหลอมการพั ฒนาคนตามแผนพัฒนาของแต่ ละประเทศ” ดร.ไกรยส กล่าว
รายงานการติดตามผลการศึกษาทั่ วโลกปี 59
กลุ่มประชาสัมพันธ์ สำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงศึกษาธิการ รายงานการเปิดเผยถึงรายงานการติ ดตามผลการศึกษาทั่วโลกปี 2559 โดย ควาง-โจ คิม ผู้อำนวยการสำนักงานยูเนสโก กรุงเทพฯ กล่าวว่า ว่า เป็นรายงานประจำปีขององค์การยู เนสโก และเป็นรายงานฉบับแรกของชุ ดรายงาน 15 ปี เพื่อติดตามดูการจัดการศึ กษาของประเทศต่างๆ และประเมินดูว่าโอกาสที่จะบรรลุ เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้ านการศึกษาในปี ค.ศ.2030 ที่จะสร้างหลักประกันให้การศึ กษามีคุณภาพอย่างทั่วถึงและเท่ าเทียมกัน รวมทั้งการส่งเสริมให้ทุกคนเข้ าถึงการศึกษาตลอดชีวิตมีความเป็ นไปได้มากน้อยอย่างไร การประเมินนี้เป็นเครื่องมื อของยูเนสโก ในการกระตุ้นให้ประเทศสมาชิกได้ พัฒนาปรับปรุงหรือแก้ไขปั ญหาทางด้านการศึกษาของแต่ ละประเทศ เพื่อบรรลุเป้าหมายในปี ค.ศ.2030 ซึ่งรายงานดังกล่าว ระบุว่า
1. ในโลกใบนี้ (190 ประเทศ) ยังมีเด็กและเยาวชนรวม 263 ล้านคน ที่ไม่ได้เข้าโรงเรียน ในจำนวนนี้ 61 ล้านคน ไม่ได้เข้าโรงเรียนระดับประถมศึ กษา, 60 ล้านคน ไม่ได้เข้าโรงเรียนระดับมัธยมศึ กษาตอนต้น และ 142 ล้านคน ไม่ได้เข้าโรงเรียนระดับมัธยมศึ กษาตอนปลาย แม้แต่กลุ่มประเทศที่มีรายได้สู ง (พัฒนาแล้ว) ก็ยังไม่สามารถบรรลุผลให้ เยาวชนของตนเองเข้าเรียนชั้นมั ธยมศึกษาได้ทุกคน
2. ในด้านการศึกษาระบุว่า สิ่งที่นำมาใช้ในห้องเรียน เช่น ตำรา สื่อการเรียนต่าง ๆ รวมทั้งกระบวนการจัดการเรี
3. การวัดผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้
4. ด้านปฐมวัย มีเพียง 50 ประเทศจาก 190 ประเทศเท่านั้น ที่กำหนดให้ระดับการศึกษาปฐมวั
5. ด้านอาชีวศึกษา มี 140 ประเทศที่มีกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ ซึ่งจะมีผลต่อผลสัมฤทธิ์
6. การอุดมศึกษา พบว่ามีคนเรียนอุดมศึกษามากขึ้
7. ด้านทักษะการทำงาน พบว่าทักษะการรู้หนังสือทำให้
8. การรู้หนังสือและการคิดคำนวณเป็
9. แม้ว่าแต่ละประเทศจะรับรู้
10. ห้องเรียนที่แออัดและการมีครู
แสดงความคิดเห็น