"ใช้ศาลทหารผิดตรงไหน"
นายกรัฐมนตรีสงสัยว่าเหตุใด คนจึงตั้งข้อรังเกียจศาลทหา ร ทั้งๆ ที่จบกฎหมายเหมือนกัน แตกต่างกันแค่มียศเท่านั้น นายกรัฐมนตรีคงไม่เข้าใจว่า หลักการที่สำคัญของศาลคือหล ักความเป็นกลาง (impartiality) คือการไม่มีส่วนได้เสียทั้ง ในเนื้อหาของคดีและผู้เป็นค ู่ความ และหลักความเป็นอิสระ (independence) ของผู้พิพากษาและองค์กรที่ต ้องปลอดจากการถูกแทรกแซงจาก ฝ่ายอื่นๆ ตามที่บัญญัติไว้ในข้อ 10 ของปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน แห่งสหประชาชาติ ซึ่งประเทศไทยให้การรับรองม าตั้งแต่ พ.ศ. 2491
เมื่อปี พ.ศ. 2528 (1985) สหประชาชาติได้กำหนดหลักการ พื้นฐานว่าด้วยความเป็นอิสร ะของฝ่ายตุลาการ (Basic Principles on the Independence of the Judiciary) เป็นผลให้รัฐสมาชิกต้องนำหล ักการดังกล่าวไปบัญญัติไว้ใ นรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย ซึ่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจ ักรไทยตั้งแต่ พ.ศ. 2540 เป็นต้นมาก็ได้นำเอาหลักการ ดังกล่าวมาบัญญัติไว้ เช่น การแต่งตั้ง การโยกย้าย เลื่อนตำแหน่ง เลื่อนเงินเดือนและการลงโทษ ต้องได้รับความเห็นชอบจากคณ ะกรรมการตุลาการของศาลนั้น อีกทั้งองค์กรศาลจะต้องมีคว ามเป็นอิสระไม่ขึ้นกับฝ่ายบ ริหารและมีหน่วยธุรการของตั วเอง โดยมีบทบัญญัติให้ตรวจสอบถ่ วงดุลเพื่อเป็นหลักประกันว่ า การใช้ดุลพินิจของศาลจะเป็น ไปโดยชอบด้วยกฎหมาย ดังนั้น ผู้พิพากษาจึงอาจถูกถอดถอนอ อกจากตำแหน่งได้หากมีพฤติกร รมร่ำรวยผิดปกติ หรือส่อไปในทางทุจริตต่อหน้ าที่ หรือส่อว่าจงใจใช้อำนาจหน้า ที่ขัดต่อรัฐธรรมนูญหรือกฎห มาย หรือฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตา มมาตรฐานทางจริยธรรมอย่างร้ ายแรง เป็นต้น
หลักการดังกล่าวข้างต้นรัฐธ รรมนูญได้บัญญัติให้ใช้กับศ าลยุติธรรมและศาลปกครอง แต่ไม่บังคับใช้กับศาลทหารท ี่ไม่มีความเป็นอิสระ เนื่องจากอยู่ในสังกัดของกร ะทรวงกลาโหมทั้งยังอยู่ใต้ก ารบังคับบัญชาของคณะผู้ยึดอ ำนาจ ดังนั้น สูตรสำเร็จของคณะรัฐประหารน อกจากการนิรโทษกรรม การอนุมัติสองขั้นพร้อมวันเ วลาทวีคูณให้กับตัวเองและพว กพ้องแล้ว สิ่งที่ขาดไม่ได้คือการเอาค ดีสำคัญไปขึ้นศาลทหาร ทั้งที่ศาลพลเรือนก็มีอยู่แ ล้วซึ่งขัดต่อหลักนิติธรรม ขัดต่อกฎหมายระหว่างประเทศแ ละขัดกับวัตถุประสงค์ของการ จัดตั้งศาลทหารเองก็ตาม นี่คือเหตุผลที่ UPR ตำหนิรัฐบาลไทยอย่างรุนแรงเ พราะเห็นว่า การเพิ่มการใช้ศาลทหารก็เพื ่อกำจัดคู่แข่งทางการเมือง ส่วนคำแก้ตัวของคณะผู้แทนไท ยที่คล้ายกับคำพูดของนายกรั ฐมนตรี ได้ถูกที่ประชุม UPR กล่าวหาว่าปากอย่างใจอย่าง (hypocrisy) หรือที่คนไทยมักพูดกันว่า "ตอแหล" ซึ่ง คสช. อาจจะไม่รู้สึกแต่ผมและคนไท ยทั่วไปอับอายกับคำประณามนี ้มากครับ
วัฒนา เมืองสุข
พรรคเพื่อไทย
17 พฤษภาคม 2559
นายกรัฐมนตรีสงสัยว่าเหตุใด
เมื่อปี พ.ศ. 2528 (1985) สหประชาชาติได้กำหนดหลักการ
หลักการดังกล่าวข้างต้นรัฐธ
วัฒนา เมืองสุข
พรรคเพื่อไทย
17 พฤษภาคม 2559
แสดงความคิดเห็น