Posted: 11 Nov 2018 12:01 AM PST (อ้างอิงจากอีเมล์ข่าว เว็บไซต์ประชาไท www.prachatai.com)
Submitted on Sun, 2018-11-11 15:01
'นิด้าโพล' ชี้ประชาชนส่วนใหญ่ 77.80% ยังไม่ทราบกาบัตรเลือกตั้งกี่ใบ อีก 82.79% ยังไม่ทราบว่าหมายเลขประจำตัวผู้ สมัคร ส.ส. พรรคเดียวกันแต่ต่างเขตเลือกตั้ งจะคนละหมายเลขกัน ด้าน 'สวนดุสิตโพล' ระบุพรรคที่โดนใจประชาชนต้องไม่ ใส่ร้ายโจมตีหาเรื่ องทะเลาะเบาะแว้งกับพรรคคู่แข่ ง
11 พ.ย. 2561 ศูนย์สำรวจความคิดเห็น 'นิด้าโพล' สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) เปิดเผยผลสำรวจความคิดเห็ นของประชาชน เรื่อง “ความเข้าใจของคนไทยต่อการเลื อกตั้งแบบใหม่ 2562” ทำการสำรวจระหว่างวันที่ 5 – 7 พ.ย. 2561 จากประชาชนที่มีอายุ 18 ปี ขึ้นไป กระจายทุกภูมิภาค ระดับการศึกษา และอาชีพทั่วประเทศ รวมทั้งสิ้น จำนวน 1,261 หน่วยตัวอย่าง เกี่ยวกับความเข้าใจของคนไทยต่อ การเลือกตั้งแบบใหม่ ตามรัฐธรรมนูญ 60 การสำรวจอาศัยการสุ่มตัวอย่างด้ วยความน่าจะเป็นจากบัญชีรายชื่ อฐานข้อมูลตัวอย่างหลัก (Master Sample) ของ “นิด้าโพล” ด้วยวิธีแบบแบ่งชั้นภูมิ (Stratified Random Sampling) โดยแบ่งชั้นภูมิตามภูมิภาค จากนั้นในแต่ละภูมิภาคสุ่มตั วอย่างด้วยวิธีแบบอย่างง่าย (Simple Random Sampling) เก็บข้อมูลด้วยวิธีการสัมภาษณ์ ทางโทรศัพท์ โดยกำหนดค่าความเชื่อมั่นที่ร้ อยละ 95.0
จากการสำรวจเมื่อถามถึงการรั บทราบของประชาชนเกี่ยวกับการ “กาบัตรลงคะแนน” คนละกี่ใบพบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ ร้อยละ 77.80 ระบุว่า ไม่ทราบ ว่าจะต้อง “กาบัตรลงคะแนน” คนละกี่ใบ และร้อยละ 22.20 ระบุว่า ทราบ ว่าจะต้อง “กาบัตรลงคะแนน” เพียง 1 ใบ
ด้านการรับทราบของประชาชนเกี่ ยวกับหมายเลขประจำตัวผู้สมัคร “ส.ส.แบบแบ่งเขต” ของแต่ละพรรคในต่างเขตเลือกตั้ง จะมีหมายเลขเดียวกันหมด หรือ ต่างเขตเลือกตั้งต่างหมายเลข พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ ร้อยละ 82.79 ระบุว่า ไม่ทราบ ว่าหมายเลขประจำตัวผู้สมัคร “ส.ส.แบบแบ่งเขต” ของแต่ละพรรคในต่างเขตเลือกตั้ง จะมีหมายเลขเดียวกันหมด หรือ ต่างเขตเลือกตั้งต่ างหมายเลขและร้อยละ 17.21 ระบุว่า ทราบ ว่าหมายเลขประจำตัวผู้สมัคร “ส.ส.แบบแบ่งเขต” ของแต่ละพรรคจะเป็น “ต่างเขตเลือกตั้งต่างหมายเลข”
สำหรับการรับทราบของประชาชนเกี่ ยวกับช่วงเวลาการลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้ง พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ ร้อยละ 73.51 ระบุว่า ไม่ทราบ รองลงมา ร้อยละ 20.30 ระบุว่า ทราบ ว่าเป็นช่วงเวลา 8.00 – 17.00 น. และร้อยละ 6.19 ไม่ระบุ/ไม่แน่ใจ ซึ่งในจำนวนของผู้ที่ระบุว่า “ไม่ทราบ” พบว่า ร้อยละ 75.73 ระบุว่า เป็นช่วงเวลา 8.00 – 15.00 น. และร้อยละ 24.27 ระบุว่า เป็นช่วงเวลา 8.00 – 16.00 น.
ท้ายที่สุด เมื่อถามถึงการไปลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้งของประชาชน ในการเลือกตั้งวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 62 พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ ร้อยละ 95.80 ระบุว่า ไปแน่นอน รองลงมา ร้อยละ 2.22 ระบุว่า ไม่ไปแน่นอน เพราะ เลือกไปก็ไม่มีอะไรดีขึ้น ขณะที่บางส่วนระบุว่า ไม่สะดวกในการเดิ นทางไปลงคะแนนเสียง และร้อยละ 1.98 ไม่ระบุ/ไม่แน่ใจ
เมื่อสอบถามผู้ที่ระบุว่า จะไปลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง ในวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 62 อย่างแน่นอน ว่าจะเลือกผู้สมัคร เลือกพรรค เลือกว่าที่นายกรัฐมนตรีที่ พรรคสนับสนุน หรือเลือกนโยบายพรรค พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ ร้อยละ 47.02 ระบุว่า เลือกนโยบายพรรค รองลงมา ร้อยละ 19.62 ระบุว่า ยังไม่ตัดสินใจ ร้อยละ 14.15 ระบุว่า เลือกพรรค ร้อยละ 13.91 ระบุว่า เลือกผู้สมัคร และร้อยละ 5.30 ระบุว่า เลือกว่าที่นายกรัฐมนตรีที่ พรรคสนับสนุน
เมื่อพิจารณาลักษณะทั่วไปของตั วอย่าง พบว่า ตัวอย่าง ร้อยละ 8.56 มีภูมิลำเนาอยู่กรุงเทพฯ ร้อยละ 25.85 มีภูมิลำเนาอยู่ปริ มณฑลและภาคกลาง ร้อยละ 18.08 มีภูมิลำเนาอยู่ภาคเหนือ ร้อยละ 33.31 มีภูมิลำเนาอยู่ภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือ และร้อยละ 14.20 มีภูมิลำเนาอยู่ภาคใต้ ตัวอย่าง ร้อยละ 50.99 เป็นเพศชาย และร้อยละ 49.01 เป็นเพศหญิง ตัวอย่าง ร้อยละ 5.07 มีอายุ 18 – 25 ปี ร้อยละ 15.23 มีอายุ 26 – 35 ปี ร้อยละ 22.84 มีอายุ 36 – 45 ปี ร้อยละ 33.78 มีอายุ 46 – 59 ปี ร้อยละ 21.97 มีอายุ 60 ปีขึ้นไป และร้อยละ 1.11 ไม่ระบุอายุ
ตัวอย่าง ร้อยละ 93.97 ระบุว่า นับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ 3.33 ระบุว่า นับถือศาสนาอิสลาม ร้อยละ 0.72 ระบุว่า นับถือศาสนาคริสต์/ฮินดู/ซิกข์/ ยิว/ไม่นับถือศาสนาใด ๆ และร้อยละ 1.98 ไม่ระบุศาสนา ตัวอย่าง ร้อยละ 21.57 ระบุว่าสถานภาพโสด ร้อยละ 72.01 สมรสแล้ว ร้อยละ 4.20 หม้าย หย่าร้าง แยกกันอยู่ และร้อยละ 2.22 ไม่ระบุสถานภาพการสมรส ตัวอย่าง ร้อยละ 29.90 จบการศึกษาประถมศึกษา หรือต่ำกว่า ร้อยละ 28.78 จบการศึกษามัธยมศึกษาหรือเที ยบเท่า ร้อยละ 7.22 จบการศึกษาอนุปริญญาหรือเที ยบเท่า ร้อยละ 25.69 จบการศึกษาปริญญาตรีหรือเที ยบเท่า ร้อยละ 5.79 จบการศึกษาสูงกว่าปริญญาตรีหรื อเทียบเท่า และร้อยละ 2.62 ไม่ระบุการศึกษา
ตัวอย่าง ร้อยละ 12.77 ประกอบอาชีพข้าราชการ/ลูกจ้าง/ พนักงานรัฐวิสาหกิจ ร้อยละ 13.56 ประกอบอาชีพพนักงานเอกชน ร้อยละ 20.14 ประกอบอาชีพเจ้าของธุรกิจ/อาชี พอิสระ ร้อยละ 16.81 ประกอบอาชีพเกษตรกร/ประมง ร้อยละ 16.18 ประกอบอาชีพรับจ้างทั่วไป/ผู้ ใช้แรงงาน ร้อยละ 15.86 เป็นพ่อบ้าน/แม่บ้าน/เกษียณอายุ /ว่างงาน ร้อยละ 1.90 เป็นนักเรียน/นักศึกษา และร้อยละ 2.78 ไม่ระบุอาชีพ ตัวอย่าง ร้อยละ 10.94 ไม่มีรายได้ ร้อยละ 28.87 มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน ไม่เกิน 10,000 บาท ร้อยละ 25.85 มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 10,001 – 20,000 บาท ร้อยละ 11.10 มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 20,001 – 30,000 บาท ร้อยละ 6.74 มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 30,001 – 40,000 บาท ร้อยละ 7.30 มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 40,001 บาทขึ้นไป และร้อยละ 9.20 ไม่ระบุรายได้
'สวนดุสิตโพล' ระบุพรรคที่โดนใจประชาชนต้องไม่
สำนักข่าวไทย รายงานว่าการเลือกตั้ง ส.ส. ที่กำลังจะมีขึ้นในช่วงต้นปี 2562 ส่งผลให้พรรคการเมืองต่างๆ ทั้งพรรคการเมืองเก่ าและพรรคการเมืองใหม่ออกมาเคลื่ อนไหว แข่งขันกันลงพื้นที่เดิ นสายหาเสียงกับประชาชนมากขึ้น ในขณะที่ประชาชนต่างก็มี ความคาดหวังต่อพรรคการเมือง ซึ่งมีส่วนสำคัญต่อการเลือกตั้ งเช่นเดียวกัน เพื่อสะท้อนความคิดเห็ นของประชาชนที่สนใจติดตามข่ าวการเมือง 'สวนดุสิตโพล' มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ได้ดำเนินการสำรวจความคิดเห็ นของประชาชนทั่วประเทศ เรื่อง พรรคการเมืองควรทำอย่างไร จึงจะโดนใจประชาชน จำนวนทั้งสิ้น 1,176 คน ระหว่างวันที่ 7-10 พ.ย. 2561 สรุปได้ ดังนี้
1.ประชาชนคิดอย่างไร? กับ “พรรคการเมือง” ที่เป็นข่าวอยู่ในขณะนี้
อันดับ 1 ไม่ใส่ร้าย โจมตี หาเรื่องทะเลาะเบาะแว้งกั บพรรคคู่แข่ง 38.76%
อันดับ 2 ต้องทำเพื่อส่วนรวมอย่างแท้จริง ไม่มีผลประโยชน์แอบแฝง 34.86%
อันดับ 3 มีความสามัคคี ทำงานเป็นทีม คัดเลือกผู้สมัครที่ดี เหมาะสม 33.90%
อันดับ 4 ชูนโยบายที่ทำได้จริง เน้นแก้ปัญหาเศรษฐกิจ ชีวิตความเป็นอยู่ 30.48%
อันดับ 5 มีจุดยืน เดินหน้าหาเสียงอย่างบริสุทธิ์ ยุติธรรม 15.52%
3.เหตุผลในการเปลี่ยนใจและไม่ เปลี่ยนใจในการเลือกพรรคการเมื องของประชาชน ณ วันนี้ (เปรียบเทียบกับการเลือกตั้งครั้ งที่ผ่านมา)
อันดับ 1 ไม่เปลี่ยนใจ 45.15% เพราะ ชอบพรรคการเมือง ชอบผู้สมัคร มีผลงานให้เห็น มีคนเก่ง มีประสบการณ์ ช่วยเหลือประชาชนได้ดี อยากให้สานงานต่อ ต้องการสนับสนุนพรรคนี้ต่อไป ฯลฯ
อันดับ 2 ยังไม่ตัดสินใจ รอดูก่อน 33.57%
อันดับ 3 เปลี่ยนใจ 21.28% เพราะ ผลงานไม่น่าพอใจ ทำไม่ได้ตามที่พูด มีพรรคการเมืองใหม่ๆ ที่น่าสนใจหลายพรรค มีตัวเลือกมากขึ้นผู้สมัครหน้ าใหม่หลายคน อยากลองเปิดโอกาสให้พรรคอื่นดู บ้าง ฯลฯ
'นิด้าโพล' ชี้ประชาชนส่วนใหญ่ 77.80% ยังไม่ทราบกาบัตรเลือกตั้งกี่ใบ อีก 82.79% ยังไม่ทราบว่าหมายเลขประจำตัวผู้
จากการสำรวจเมื่อถามถึงการรั
ด้านการรับทราบของประชาชนเกี่
สำหรับการรับทราบของประชาชนเกี่
ท้ายที่สุด เมื่อถามถึงการไปลงคะแนนเสี
เมื่อสอบถามผู้ที่ระบุว่า จะไปลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง ในวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 62 อย่างแน่นอน ว่าจะเลือกผู้สมัคร เลือกพรรค เลือกว่าที่นายกรัฐมนตรีที่
เมื่อพิจารณาลักษณะทั่วไปของตั
ตัวอย่าง ร้อยละ 93.97 ระบุว่า นับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ 3.33 ระบุว่า นับถือศาสนาอิสลาม ร้อยละ 0.72 ระบุว่า นับถือศาสนาคริสต์/ฮินดู/ซิกข์/
ตัวอย่าง ร้อยละ 12.77 ประกอบอาชีพข้าราชการ/ลูกจ้าง/
'สวนดุสิตโพล' ระบุพรรคที่โดนใจประชาชนต้องไม่ ใส่ร้ายโจมตีหาเรื่ องทะเลาะเบาะแว้งกับพรรคคู่แข่ ง
1.ประชาชนคิดอย่างไร? กับ “พรรคการเมือง” ที่เป็นข่าวอยู่ในขณะนี้
พลังประชารัฐ
อันดับ 1 เป็นพรรคที่สนับสนุนรัฐบาลอย่ างชัดเจน มีรัฐมนตรีร่วมบริหารพรรค 46.67%
อันดับ 2 ถูกจับตามอง มีกลุ่มสามมิตร ดึงนักการเมืองดังๆ เข้าร่วม 32.38%
อันดับ 3 มีความได้เปรียบ มีเวลาเตรียมพร้อมมากกว่าพรรคอื่ นๆ 20.95%
อันดับ 1 เป็นพรรคที่สนับสนุนรัฐบาลอย่
อันดับ 2 ถูกจับตามอง มีกลุ่มสามมิตร ดึงนักการเมืองดังๆ เข้าร่วม 32.38%
อันดับ 3 มีความได้เปรียบ มีเวลาเตรียมพร้อมมากกว่าพรรคอื่
เพื่อไทย
อันดับ 1 ประสบปัญหาทั้งภายในและภายนอก รอดูว่าจะแก้ปัญหาอย่างไร 50.34%
อันดับ 2 มีกระแสข่าวการยุบพรรค และเตรียมจัดตั้งพรรคใหม่ 34.16%
อันดับ 3 เป็นพรรคที่คนส่วนใหญ่ยังสนใจติ ดตามข่าว โดยเฉพาะข่าวอดีตนายกทักษิณ 5.50%
อันดับ 1 ประสบปัญหาทั้งภายในและภายนอก รอดูว่าจะแก้ปัญหาอย่างไร 50.34%
อันดับ 2 มีกระแสข่าวการยุบพรรค และเตรียมจัดตั้งพรรคใหม่ 34.16%
อันดับ 3 เป็นพรรคที่คนส่วนใหญ่ยังสนใจติ
ประชาธิปัตย์
อันดับ 1 การชิงตำแหน่งหัวหน้าพรรค เป็นประเด็นทางการเมืองที่น่ าสนใจ 37.53%
อันดับ 2 ควรปรับเปลี่ยนอะไรใหม่ๆ เพื่อขยายฐานเสียงให้มากขึ้น 32.65%
อันดับ 3 ควรจัดการเรื่องภายในพรรคให้เรี ยบร้อย เพื่อเตรียมสู้ศึกเลือกตั้ง 29.82%
อันดับ 1 การชิงตำแหน่งหัวหน้าพรรค เป็นประเด็นทางการเมืองที่น่
อันดับ 2 ควรปรับเปลี่ยนอะไรใหม่ๆ เพื่อขยายฐานเสียงให้มากขึ้น 32.65%
อันดับ 3 ควรจัดการเรื่องภายในพรรคให้เรี
อนาคตใหม่
อันดับ 1 เป็นกลุ่มคนรุ่นใหม่ มีนโยบาย แนวคิดทันสมัย น่าสนใจ 38.60%
อันดับ 2 ยังไม่เป็นที่รู้จักในวงกว้าง ไม่มีผลงานทางการเมืองให้เห็น 35.67%
อันดับ 3 มีการลงพื้นที่หาเสียง พบเห็นตามสื่อต่างๆ มากขึ้น 25.73%
อันดับ 1 เป็นกลุ่มคนรุ่นใหม่ มีนโยบาย แนวคิดทันสมัย น่าสนใจ 38.60%
อันดับ 2 ยังไม่เป็นที่รู้จักในวงกว้าง ไม่มีผลงานทางการเมืองให้เห็น 35.67%
อันดับ 3 มีการลงพื้นที่หาเสียง พบเห็นตามสื่อต่างๆ มากขึ้น 25.73%
รวมพลังประชาชาติไทย
อันดับ 1 นายสุเทพ เป็นผู้ที่มีบทบาทสำคั ญในการหาเสียงของพรรค 50.95%
อันดับ 2 จากการลงพื้นที่ที่ผ่านมา มีกระแสต่อต้านมากกว่าตอบรับ 31.56%
อันดับ 3 สมาชิกพรรคคนอื่นๆ ยังไม่เป็นที่รู้จักมากนัก 17.49%
2.พรรคการเมืองควรทำอย่างไร? จึงจะโดนใจประชาชนอันดับ 1 นายสุเทพ เป็นผู้ที่มีบทบาทสำคั
อันดับ 2 จากการลงพื้นที่ที่ผ่านมา มีกระแสต่อต้านมากกว่าตอบรับ 31.56%
อันดับ 3 สมาชิกพรรคคนอื่นๆ ยังไม่เป็นที่รู้จักมากนัก 17.49%
อันดับ 1 ไม่ใส่ร้าย โจมตี หาเรื่องทะเลาะเบาะแว้งกั
อันดับ 2 ต้องทำเพื่อส่วนรวมอย่างแท้จริง ไม่มีผลประโยชน์แอบแฝง 34.86%
อันดับ 3 มีความสามัคคี ทำงานเป็นทีม คัดเลือกผู้สมัครที่ดี เหมาะสม 33.90%
อันดับ 4 ชูนโยบายที่ทำได้จริง เน้นแก้ปัญหาเศรษฐกิจ ชีวิตความเป็นอยู่ 30.48%
อันดับ 5 มีจุดยืน เดินหน้าหาเสียงอย่างบริสุทธิ์ ยุติธรรม 15.52%
3.เหตุผลในการเปลี่ยนใจและไม่
อันดับ 1 ไม่เปลี่ยนใจ 45.15% เพราะ ชอบพรรคการเมือง ชอบผู้สมัคร มีผลงานให้เห็น มีคนเก่ง มีประสบการณ์ ช่วยเหลือประชาชนได้ดี อยากให้สานงานต่อ ต้องการสนับสนุนพรรคนี้ต่อไป ฯลฯ
อันดับ 2 ยังไม่ตัดสินใจ รอดูก่อน 33.57%
อันดับ 3 เปลี่ยนใจ 21.28% เพราะ ผลงานไม่น่าพอใจ ทำไม่ได้ตามที่พูด มีพรรคการเมืองใหม่ๆ ที่น่าสนใจหลายพรรค มีตัวเลือกมากขึ้นผู้สมัครหน้
แสดงความคิดเห็น