ศูนย์ทนายสิทธิฯ เปิดตัวหนังสือ 'ในนามของความ(อ)ยุติธรรมภายใต้ คสช.'
Posted: 01 Apr 2016 07:32 AM PDT (อ้างอิงจากอีเมล์ข่าว เวบไซท์ประชาไท)
ศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุ ษยชนเปิดตัวหนังสือ รวมรายงานที่ศูนย์ทนายฯ เผยแพร่ และประมวลคดีที่ศูนย์ทนายฯ ทำคดี รวมไปถึงตั้งข้อสังเกตต่ อกระบวนการสืบสวนสอบสวนว่าชอบด้ วยกฎหมายหรือไม่ รวมไปถึงการพิพากษาคดีเพื่อจัดก ารผู้เห็นต่างจากรัฐ และนโยบายในการจัดการกับคดี ม.112 ที่ถูกนำมาใช้อย่างกว้างขวาง ไม่เลือกกลุ่มเป้าหมาย และมีโทษสูงขึ้น
1 เม.ย. 2559 ศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน เปิดตัวหนังสือ "ในนามของความ(อ)ยุติธรรมภายใต้ คสช." ที่โรงแรมสุโกศล โดยสรวุฒิ วงศ์ศรานนท์ ผู้ช่วยผู้จัดการฝ่ายข้อมูลของศ ูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน กล่าวว่า หนังสือเล่มนี้ได้นำรายงานของศู นย์ทนายความฯ ที่เคยเผยแพร่ รวมถึงประมวลคดีที่ศูนย์ทนายควา มฯ ให้ความช่วยเหลืออยู่บางคดีมารว มไว้ด้วยเพราะเห็นว่าเป็นคดีที่ มีความน่าสนใจในแง่กระบวนการขั้ นตอนต่างๆ ตั้งแต่กระบวนการสืบสวนสอบสวนที ่มีข้อกังขาว่าชอบด้วยกฎหมายหรื อไม่ ไปจนถึงการพิพากษาคดีเพื่อจัดกา รผู้เห็นต่างจากรัฐ และนโยบายในการจัดการกับคดีหมิ่ นสถาบันกษัตริย์ที่ถูกนำมาใช้อย ่างกว้างขวาง ไม่เลือกกลุ่มเป้าหมาย และมีโทษสูงขึ้น
ทั้งนี้ หนังสือดังกล่าวสรุปรวมการละเมิ ดสิทธิต่างๆ ดังนี้
1. การติดตามจับกุม การควบคุมตัวในที่ปิดลับหรือค่า ยทหาร จากการติดตามเก็บข้อมูลพบว่าคดี ที่เกี่ยวข้องกับคดีการใช้ความร ุนแรงหรือการครอบครองอาวุธ คดีหมิ่นสถาบันกษัตริย์ หรือคดีอื่นๆ อีกที่ คสช.อ้างว่าเกี่ยวกับความมั่นคง ของรัฐก่อนที่คดีจะขึ้นสู่ศาล พบว่าในการจับกุมผู้ต้องสงสัยมา ดำเนินคดีนั้น เจ้าหน้าที่มักจะใช้ประกาศหรือค ำสั่งที่ให้อำนาจในการควบคุมตั วบุคคลไปควบคุมตัวไว้ในค่ายทหาร แต่ในกระบวนการสอบสวนภายในค่ายท หาร พวกเขาเหล่านั้นไม่ได้รับสิทธิใ นการเข้าถึงทนายความและไม่สามาร ถติดตามตรวจสอบได้ว่ากระบวนการส อบสวนที่เกิดขึ้นจริงเป็นอย่ างไรจนกว่าผู้ต้องสงสัยจะถูกส่ งตัวให้เจ้าหน้าที่ตำรวจพร้อมกั บถูกแจ้งความดำเนินคดีโดยเจ้ าหน้าที่ทหารเรียบร้อยแล้ว ทนายความจึงจะเข้าถึงตัวผู้ต้อง หาได้ โดยเจ้าหน้าที่อ้างว่าในการสอบส วนภายในค่ายทหารนั้นผู้ที่ถู กควบคุมตัวยังไม่ได้อยู่ ในสถานะผู้ต้องหาเป็นการเชิญมาพ ูดคุยซักถามจึงไม่ต้องมีทนายควา มหรือบุคคลที่ผู้ถูกควบคุมตั วไว้ใจร่วมอยู่ด้วย
นอกจากการจับกุมการสอบสวนที่ดูจ ะใช้วิธีการที่ไม่ถูกต้องในการไ ด้มาซึ่งข้อมูลแล้ว เรื่องการใช้สถานที่ที่ปิดลับหร ือใช้ค่ายทหารเป็นสถานที่ควบคุ มตัวตั้งแต่หลังการรัฐประหารมาจ นถึงตอนนี้ก็ดูเหมือนว่าจะไม่มี ความเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้ น และยิ่งกลับแย่ลงอีกเมื่อมีการป ระกาศตั้งเรือนจำขึ้นภายใน มทบ.11 ซึ่งตั้งอยู่ใจกลางเมืองกรุงเทพ ฯแห่งนี้ แต่สามารถเข้าถึงและตรวจสอบได้ย ากมาก และการที่ผู้ต้องหาจะได้รับสิทธ ิที่พึงมี เช่น การเปิดให้ญาติเข้าเยี่ยม การได้พบทนาย ที่มีขั้นตอนยุ่งยากและการไม่ได ้รับความเป็นส่วนตัวระหว่างรับค ำปรึกษาทางคดีกับทนายความของตน นอกจากนั้นเมื่อเกิดเหตุการณ์เส ียชีวิตขึ้นภายในเรือนจำถึง 2 คน แต่รัฐกลับอ้างว่าญาติไม่ติดใจแ ล้วก็ไม่ปรากฏความคืบหน้าในการต รวจสอบเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
กรณีนี้ ศูนย์ทนายความฯ ขอข้อมูลจำนวนผู้ต้องขังกับทางเ รือนจำ แต่ถูกปฏิเสธด้วยเหตุผลว่าเป็นข ้อมูลที่อาจกระทบต่อความมั่นคงแ ละเป็นข้อมูลส่วนบุคคล
2. เสรีภาพการแสดงออก มีการใช้กำลังทหารเข้ามาควบคุมส ถานการณ์ผู้ต่อต้านรัฐประหาร มีทั้งการจับกุมควบคุมตัวจากที่ ชุมนุม การติดตามจับกุมในภายหลัง รวมถึงการติดตามข่มขู่คุกคามทั้ งรูปแบบเรียกรายงานตัวในพื้นที่ ควบคุมของทหาร หรือสอดแนม ติดตาม ทั้งกลุ่มเคลื่อนไหวต่างๆ ที่ปรากฏเป็นข่าว และกรณีที่เกิดขึ้นแล้วค่อนข้าง เงียบคือ แกนนำเสื้อแดง กลุ่มเคลื่อนไหว ในพื้นที่ภาคอีสานมีการเรียกให้ ไปรายงานตัวที่ค่ายทหารทุกอาทิต ย์
3. คดีหมิ่นสถาบันกษัตริย์ มีจำนวนมากขึ้นในช่วงหลังการรัฐ ประหาร เฉพาะคดีที่ศูนย์ทนายความได้ให้ ความช่วยเหลือทั้งคดีในศาลทหารแ ละศาลพลเรือนมีอยู่ทั้งหมด 29 คดี 37 คน ซึ่งมีทั้งคดีที่จบไปแล้วรวมถึง คดีที่เกิดนานแล้วก่อนรัฐประหาร เช่น กรณีรายการตอบโจทย์ประเทศไทยที่ ออกอากาศทางไทยพีบีเอส
4. เรื่องคดีอาวุธ คดีที่อยู่ในศาลทหารจำนวนมากเป็ นคดีเกี่ยวกับอาวุธ แต่จากการติดตามข้อมูลศูนย์ทนาย ความฯ พบว่ามีคดีอาญาทั่วๆ ไป เช่น ผู้ต้องหาในคดียาเสพติดที่มีอาว ุธในครอบครอง หรือแม้กระทั่งชาวบ้านที่มีอาวุ ธปืนดัดแปลงที่ใช้ในการล่าสัตว์ ถูกนำขึ้นศาลทหารด้วย นอกจากนี้ยังมีคดีที่เกี่ยวข้อง กับเหตุรุนแรงทางการเมืองย้อนกล ับไปถึงเหตุการณ์ในช่วงปี 2553 โดยแม้ว่าคดีเหล่านี้จะอยู่ในศา ลพลเรือน แต่ว่ากระบวนการสอบสวนก็ไปตกอยู ่ในการจัดการของทหารอยู่ดีโดยมี การนำตัวไปสอบสวนภายในค่ายทหารต ามที่ได้กล่าวไปแล้ว
5. การซ้อมทรมาน คดีที่ศูนย์ทนายความฯ ให้ความช่วยเหลือส่วนหนึ่งได้รั บการร้องเรียนจากผู้ต้องหาว่ามี การซ้อมทรมานให้รับสารภาพในช่วง การควบคุมตัวในค่ายทหารตามอำนาจ ของกฎอัยการศึก ซึ่งบางรายให้ข้อมูลว่ามีการใช้ ไฟฟ้าช็อต ใช้ถุงพลาสติกคลุมหัว ผู้สอบสวนไม่มีการเปิดเผยใบหน้า และตัวตน ซึ่งการซ้อมทรมานที่เกิดขึ้นทั้ งกับผู้ต้องหาในคดีหมิ่นสถาบันฯ และคดีที่เกี่ยวข้องกับการใช้คว ามรุนแรงในเหตุการณ์การเมืองต่ างๆ
6. เรื่องทรัพยากร พบว่า นอกจากการออกคำสั่งต่างๆ ของ คสช. ที่จะเข้ามาจัดการทรัพยากรต่างๆ เช่น เหมืองแร่ ที่ดิน ป่าไม้ แล้ว ยังพบว่า คสช. ได้เข้าขัดขวางแทรกแซงการชุมนุม แสดงออกเพื่อคัดค้านนโยบายทางเศ รษฐกิจหรือประกาศของ คสช. ที่เข้ามาจัดการทรัพยากรที่จะส่ งผลกระทบต่อการดำรงชีวิตของพวกเ ขา
อนึ่ง ศูนย์ทนายความฯ ระบุว่าผู้ที่สนใจสามารถขอรับหน ังสือได้ที่ศูนย์ทนายความฯ
แสดงความคิดเห็น