Posted: 25 Jul 2018 02:20 PM PDT (อ้างอิงจากอีเมล์ข่าว เว็บไซต์ประชาไท www.prachatai.com)
Submitted on Thu, 2018-07-26 04:20
สัมมนาคู่ขนานเวทีเจรจาการค้ าเสรี 16 ประเทศ 'RCEP' ที่ไทยเป็นเจ้าภาพ มูลนิธิเข้าถึงเอดส์ ห่วงเจรจา RCEP ขยายการผูกขาดข้อมูลทางยาและสิ ทธิบัตรยา ระยะยาวจะเพิ่มต้นทุ นทางการแพทย์-สร้างภาระให้ผู้ป่ วย ขณะที่ไบโอไทยจับตาอนุสัญญา UPOV1991 หวั่นบรรษัทผูกขาดเมล็ดพันธุ์พื ช สิ่งที่ควรเป็นทรัพยากรธรรมชาติ จะกลายเป็นทรัพย์สินบริษัท
ในการประชุมความตกลงพันธมิ ตรทางการค้าระดับภูมิภาค (The Regional Comprehensive Economic Partnership - RCEP) หรืออาร์เซ็ป ซึ่งไทยเป็นเจ้าภาพการประชุมครั้ งที่ 23 ระหว่างวันที่ 17-27 กรกฎาคมนั้น นอกจากนี้ยังมีการประชุมเวทีคู่ ขนานโดยภาคประชาสังคม 25 องค์กรเมื่อวันที่ 20 ก.ค. ที่คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยร่วมกันอภิ ปรายผลกระทบหากไทยทำความตกลงใน RCEP และ CPTPP หรือ ความพยายามเข้าร่ วมความตกลงการเป็นหุ้นส่ วนเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก
มีเรื่องทรัพย์สินทางปัญญา คือต้องการให้คนประดิษฐ์คิดค้ นสิ่งใหม่ๆ โดยให้เรื่องการผูกขาด เพื่อให้ทำการค้าและได้เงินกลั บมา แล้วเอาเงินนี้ไปคิดค้นสิ่งใหม่ ๆ เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ แต่ต่อมากลายเป็นการเน้นที่เรื่ องการผูกขาดมากกว่าเรื่องการคิ ดค้นใหม่ โดยทรัพย์สินทางปัญญาแบ่งเป็น 3 ประเภท คือ สิทธบัตร (ผลิตภัณฑ์รวมถึงยา), ลิขสิทธิ์ (เพลง วรรณรรม ภาพยนตร์ ฯลฯ), เครื่องหมายการค้า (ยี่ห้อสินค้า ชื่อยี่ห้อสินค้า ตราสินค้า ฯลฯ) หน่วยงานที่ดูแลสิทธิบัตรคื อกระทรวงพาณิชย์ กรมทรัพย์สินทางปัญญา ซึ่งมี พ.ร.บ.สิทธิบัตรให้การคุ้มครอง 20 ปี หน่วยงานที่ดูแลยาคื อกระทรวงสาธารณสุข โดยมีสำนั กงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) และ พ.ร.บ. ยา
ทรัพย์สินทางปัญญาเป็นรู ปแบบการค้าอย่างหนึ่ง องค์การการค้าโลกจัดเจรจาและได้ ข้อตกลงทริปส์ (TRIPS) ซึ่งประเทศสมาชิกต้ องนำไปกำหนดเป็นกฎหมาย ข้อตกลงนี้สร้างความเสียเปรี ยบเพราะบังคับให้ทุกประเทศต้ องคุ้มครองสิทธิบัตร 20 ปี และเปลี่ยนจากการคุ้มครอง “ขั้นตอน” เป็นคุ้มครองผลิตภัณฑ์ด้วย จากเดิมที่คุ้มครองแต่ขั้นตอน ซึ่งหากมีขั้นตอนการผลิตที่ต่ างออกไปและทำให้ได้ผลิตภัณฑ์ แบบเดิมสามารถทำได้ หลังจากมีข้อตกลงทริปส์ก็ กลายเป็นว่าไม่สามารถผลิตผลิตภั ณฑ์ที่ถูกคุ้มครองได้เลย
ในขณะที่ไทยแก้กฎหมายล่วงหน้า 2 ปีก่อนจะประกาศใช้ข้อตกลงทริปส์ อินเดียขอเลื่อนการใช้ 5 ปี และยื่นขอเลื่อนจากองค์การค้ าโลกอีก 3 ปี เป็น 8 ปี และใน 8 ปีนั้นอินเดียพัฒนาศั กยภาพการผลิตยาให้เข้มแข็ง จนปัจจุบันอินเดียเป็นแหล่งผลิ ตยาสำคัญของโลก และขายไปทั่วโลกในราคาที่ไม่แพง แต่ข้อดีของทริปส์คือมี มาตรการยืดหยุ่น ประเทศเผชิญวิกฤตก็อนุโลมให้ ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาได้ และมีปฏิญญาโดฮาที่สำทับว่าจะต้ องถือเรื่องสาธารณสุขมาก่อนเรื่ องการค้า
บัตรในการที่หมอสั่งจ่ายยาตัวนี้ 2.) รูปแบบใหม่ของยา เช่น ยาชนิดนี้เป็นเม็ด และเมื่อจะทำเป็นน้ำด้วย กฎหมายไทยไม่ให้การคุ้มครอง แต่ญี่ปุ่นเรียกร้องให้คุ้ มครองด้วย 3.) การผูกขาดข้อมูลทางยา 4.) การเอาผิดกับบุคคลที่สาม ซึ่งแต่เดิมคือการฟ้องร้องระหว่ างบริษัทกับบริษัท แต่ถ้าเป็นบุคคลอาจหมายรวมตั้ งแต่คนผลิตบรรจุภัณฑ์ คนส่งยา โรงพยาบาล ไปจนถึงคนไข้ 5.) การเพิ่มโทษทางอาญา ไม่ใช่แค่ทางแพ่ง บริษัทที่ละเมิดอาจติดคุกได้ 6.) มาตรการชายแดน เช่น สามารถยึดสินค้าได้หากมี การแวะถ่ายเปลี่ยนสินค้ าในประเทศที่มีมาตรการนี้
เกาหลีใต้ ได้ยื่นขอเพิ่ม 2 เรื่อง 1.) การขยายอายุสิทธิบัตรจากการให้ สิทธิบัตรล่าช้า โดยระยะเวลาชดเชย เท่ากับ ระยะเวลาที่ล่าช้า 2.) การเอาผิดกับบุคคลที่สาม โดยรายละเอียดที่ญี่ปุ่ นและเกาหลีใต้ขอยื่นเพิ่ม เป็นไปดังภาพนำเสนอดังนี้
ปส์ เพราะรวมทั้งการผูกขาดข้อมู ลทางยา การบังคับใช้กฎหมายทรัพย์สิ นทางปัญญา และกลไก ISDS จะทำให้เกิดผลกระทบเฉพาะหน้า คือ เพิ่มจำนวนสิทธิบัตรยาด้อยคุ ณภาพ การผูกขาดนานกว่า 20 ปี ทำให้ยาชื่อสามัญไม่สามารถผลิ ตมาแข่งขันได้ ผลจะทำให้ไทยมียาราคาแพงขึ้น ปัจจุบันยาในหลักประกันสุขภาพที่ จัดซื้อโดย สปสช. ใช้งบประมาณ 2,000 กว่าล้านบาท ไม่รวมที่โรงพยาบาลจัดซื้อเองซึ่ งตกปีละ 100,000 ล้านบาท ถ้ายาราคาแพงขึ้นจะทำให้ระบบไม่ สามารถแบกรับต้นทุนตรงนี้ได้ อาจจะต้องผลักภาระให้เป็นภาระผู้ ป่วย จะมีการร่วมจ่ายหรือไม่
จากเดิมที่นักเภสัชศาสตร์จากบริ ษัทอื่นระหว่างที่ยาติดสิทธิบั ตรก็สามารถศึกษาวิธีการทำยาได้ และเมื่อทำเป็นยาได้ก็ไปขอขึ้ นทะเบียนยาก่อนได้ พอยาต้นแบบหมดสิทธิบัตรก็ สามารถขายได้ แต่หากมีมาตรการนี้จะกลายเป็นว่ าระหว่างขึ้นสิทธิบัตรจะห้ ามเผยแพร่ ห้ามทำศึกษา ห้ามขึ้นทะเบียน รอให้พ้น 20 ปีก่อนค่อยศึกษาได้
ทุกวันนี้ระบบประกันสุขภาพจ่ ายยาให้ผู้ติดเชื้อ 300,000 กว่าคน เป็นเพราะเรามียาชื่อสามัญหรื อบริษัทอื่นที่สามารถผลิตได้เนื่ องจากตัวยาจดสิทธิบัตรแค่ กระบวนการผลิต ดังนั้นหากเปลี่ยนกระบวนการผลิ ตก็สามารถทำได้ ทำให้ได้ยาราคาถูก หรือยา “โซฟอสบูเวียร์” (Sofosbuvir) ซึ่งรักษาไวรัสตับอักเสบซีอั นเป็นต้นเหตุตับแข็งและมะเร็งตั บ โดยยาตัวนี้สามารถรักษาให้ หายขาดได้ บริษัทต้นแบบในอเมริกาขายในราคา 30,000 บาท ขณะที่องค์กรเภสัชไทยขายที่ 120 บาท และในอินเดียขายที่ 70 บาท หากมีมาตรการนี้แน่นอนว่ าราคายาจะต้องเปลี่ยนไป
องของ พันธุ์พืช พันธุ์สัตว์ โดย RCEP นั้นเกาหลีใต้และญี่ปุ่นเป็ นภาคีของอนุสัญญาว่าด้วยการคุ้ มครองพันธุ์พืชใหม่ (UPOV) และพยายามผลักดั นประเทศอื่นให้เข้าเป็นภาคีอนุ สัญญา UPOV1991 ซึ่งเป็นฉบับล่าสุด มีภาคี 55 ประเทศ 120 ประเทศไม่เป็นภาคี อนุสัญญานี้นำไปสู่การผู กขาดเมล็ดพันธุ์ ให้พันธุ์พืชใหม่ที่ได้รับการคุ้ มครอง เกษตรกรไม่สามารถนำไปปลูกต่อหรื อแจกจ่ายได้ เป็นสิ่งผิดกฎหมาย จำคุกไม่เกินสองปีปรับไม่เกินสี่ แสนหรือทั้งจำทั้งปรับ อนุสัญญานี้ทำให้ทรั พยากรธรรมชาติกลายเป็นทรัพย์สิ นของบริษัทเมล็ดพันธุ์
บริษัทมอนซานโต ซึ่งเป็นบริษัทเมล็ดพันธุ์ใหญ่ สุดในโลก ร่วมกับซีพี ทำเมล็ดพันธุ์ข้าวโพด การผลักดันให้ไทยเป็น UPOV จึงมีกลุ่มบริษัทในไทยที่ต้ องการผลักดันด้วย การผูกขาดจะยิ่งขยายอำนาจการผู กขาดของบริษัทมากขึ้นไปทุกที
ยกตัวอย่างฝ้ายดีพี คือฝ้ายมอนซานโตตัดต่อพันธุ กรรมถ้าหนอนจะตายถ้ากิน UPOV1978 คุ้มครองแค่สายพันธุ์นี้ แต่ UPOV1991 รับรองภายใต้กฎหมายสิทธิบัตรด้ วย จะขยายเวลาคุ้มครองออกไป และอำนาจการคุ้มครองก็ขยายไปด้ วย เอาไปปลูกต่อก็ต้องขออนุญาตหรื อการเอาเมล็ดพันธุ์ไปวิจัย ก็ทำไม่ได้ เพราะพืชพันธุ์นี้ถือเป็นของบริ ษัท
นอกจากนี้ยังมีเรื่อง EDV หรือเรียกง่ายๆ ว่า อนุพันธุ์ของสายพันธุ์ หากไปปลูกแล้วเกิดการกลายพันธุ์ เป็นสายพันธุ์ย่อย จะกลายเป็นสายพันธุ์บริษัททั้ งหมด และหากไปผสมข้ามสายพันธุ์แล้วลั กษณะเด่นปรากฎ ก็จะเป็นของบริษัทด้วย
[full-post]
สัมมนาคู่ขนานเวทีเจรจาการค้
ภาพประกอบโดย อิศเรศ เทวาหุดี | ดัดแปลงจากแหล่งภาพประกอบ: Wiki pedia (Public Domain) CEphoto/Uwe Aranas และ Crisco 1492 (CC BY-SA 3.0)
ในการประชุมความตกลงพันธมิ
จับตาเจรจาการค้าเสรี RCEP เมื่อผลประโยชน์นักลงทุนอยู่ เหนือประชาชน, 24 ก.ค. 2561
25 องค์กรร้องยุติเจรจาค้าเสรี อาเซียน +6 เข้า CPTPP ชี้กระทบสิทธิ-วิถีชีวิต ไม่ลงนามยุครัฐประหาร, 21 ก.ค. 2561
คุ้มแน่หรือเจรจา RCEP? บทเรียนการคุ้มครองนักลงทุน (มากกว่าประชาชน), 11 ก.ค. 2561
ความตกลง RCEP ที่ไทยเตรียมเจรจา จะก่อผลกระทบต่อชาวนา ที่ดิน และอาหาร, 20 มิ.ย. 2561
ข้อตกลงการค้าข้ามชาติที่ ไทยเจรจา ทำชาวนาสูญเสียการควบคุมเมล็ดพั นธุ์, 6 มิ.ย. 2561
25 องค์กรร้องยุติเจรจาค้าเสรี
คุ้มแน่หรือเจรจา RCEP? บทเรียนการคุ้มครองนักลงทุน (มากกว่าประชาชน), 11 ก.ค. 2561
ความตกลง RCEP ที่ไทยเตรียมเจรจา จะก่อผลกระทบต่อชาวนา ที่ดิน และอาหาร, 20 มิ.ย. 2561
ข้อตกลงการค้าข้ามชาติที่
หวั่น RCEP เพิ่มเงื่อนไขผูกขาดสิทธิบัตรยา เพิ่มต้นทุนการแพทย์ สร้างภาระผู้ป่วย
เฉลิมศักดิ์ กิตติตระกูล มูลนิธิเข้าถึงเอดส์ อธิบายถึงผลกระทบของการเจรจา RCEP ว่าด้วยเรื่องของยากับสิทธิบัตร โดยแต่เดิมจุดมุ่งหมายของการให้ทรัพย์สินทางปัญญาเป็นรู
ในขณะที่ไทยแก้กฎหมายล่วงหน้า 2 ปีก่อนจะประกาศใช้ข้อตกลงทริปส์ อินเดียขอเลื่อนการใช้ 5 ปี และยื่นขอเลื่อนจากองค์การค้
เรื่องของ “สิทธิบัตร” ยา ที่ระบุในข้อตกลง RCEP และ CPTPP
กรณีของญี่ปุ่น ขอให้เพิ่มเรื่อง 1.) วิธีการใช้ยา หมายความว่าเราต้องจ่ายค่าสิทธิเกาหลีใต้ ได้ยื่นขอเพิ่ม 2 เรื่อง 1.) การขยายอายุสิทธิบัตรจากการให้
ข้อตกลง RCEP และ CPTPP ขยายการผูกขาดสิทธิบัตรยา
จากที่เห็นจึงสรุปได้ว่าทั้ง RCEP และ CPTPP นั้นเพิ่มเรียกร้องมากกว่าทริจากเดิมที่นักเภสัชศาสตร์จากบริ
ทุกวันนี้ระบบประกันสุขภาพจ่
RCEP และ UPOV1991 บทใหม่ของการผูกขาดเมล็ดพันธุ์
วิฑูรย์ เลี่ยนจำรูญ จากมูลนิธิชีววิถี (BIOTHAI) กล่าวถึงทรัพย์สินทางปัญญาในเรื่บริษัทมอนซานโต ซึ่งเป็นบริษัทเมล็ดพันธุ์ใหญ่
ยกตัวอย่างฝ้ายดีพี คือฝ้ายมอนซานโตตัดต่อพันธุ
นอกจากนี้ยังมีเรื่อง EDV หรือเรียกง่ายๆ ว่า อนุพันธุ์ของสายพันธุ์ หากไปปลูกแล้วเกิดการกลายพันธุ์
แสดงความคิดเห็น